กรมชลประทานรับงบประมาณ 7 หมื่นล้านแต่แก้ปัญหาน้ำไม่ได้

กรมชลประทานรับงบประมาณ  โดยหลายคนก็ได้สงสัยว่าในแต่ละปีได้มีการจัดสรรงบประมาณต่างๆโดยเฉพาะเกี่ยวกับน้ำต่างๆเป็นจำนวนหลายแสนล้านบาทเลยทีเดียวโดยเฉพาะในปี 2565 เขาได้มีงบบูรณาการในเรื่องของน้ำกว่า 360,000 ล้านบาทแล้วยังมีโครงการโดยรวมทั้งหมดอยู่ที่ 48,000 กว่าโครงการ 

เผื่อแก้น้ำท่วมน้ำแล้งน้ำเสียต่างๆแต่สิ่งที่ปรากฏแล้วได้สะท้อนออกมาคนที่เกี่ยวข้องเขากำลังมองอยู่พวกเขารู้สึกว่าการดำเนินงานต่างๆมันเหมือนไม่ได้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ในขณะเดียวกันในสิ่งที่ปรากฏและเป็นที่ประจักษ์นั่นก็คือ การแก้ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งยังดูเหมือนว่ามีการทำงานที่ซับซ้อนกันอยู่หรือเปล่าปัญหามันไม่สามารถแก้ได้แบบสะเด็ดน้ำ ประชาชนยังคงเจอปัญหาน้ำท่วมและในบางพื้นที่ต้องเจอกับน้ำท่วมและทั้งภายแล้งด้วย

เพราะฉะนั้นแล้วต้องมาฟังความเห็นของ ท่าน ดร. นิพนธ์ พัวพงศกร นักวิชาการเกียรติคุณ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทยหรือว่าทีดีอาร์ ท่านได้มีการวิเคราะห์และทำวิจัยและได้ให้ความเห็นออกมาดังต่อไปนี้ 

โดยบอกว่าการบริหารจัดการน้ำภายใต้วิกฤตภัยแล้งและน้ำท่วมเป็นไปลักษณะสั่งการเฉพาะกิจเมื่อเสร็จสิ้นก็แยกย้ายกันไปเพราะฉะนั้นภารกิจจึงมีความขาดการเก็บบันทึกประสบการณ์สถิติและการวางแผนรับมือครั้งต่อไป 

เพราะว่าเรื่องปัญหาน้ำท่วมภัยแล้งต่างๆมันเป็นปัญหาที่ยังไงก็ต้องเกิดขึ้นแต่ถ้าหากเราทำตัวเลขมีการวางแผนให้ดีมีการดำเนินการต่อไปและเก็บตัวเลขสถิติแล้วมาดูกันว่ามีตรงไหนที่ผิดพลาดเพื่อเป็นการแก้ไขในครั้งต่อๆไป 

ผลกระทบถึงแม้ว่ามันจะรุนแรงอยู่บ้างคือในท้ายที่สุดแล้วภัยพิบัติมันอาจจะรุนแรงมากขึ้นก็ได้ แต่ถ้าเราเรียนรู้จักบทเรียนในอดีตผลกระทบมันอาจจะน้อยลงก็ได้

เพื่อเป็นการถอดบทเรียนและเราจะได้รู้ว่าจุดอ่อนตรงไหนบริเวณไหนก็ค่อยๆแก้กันไปปัญหาภัยธรรมชาติมันไม่สามารถแก้ไขได้ในทีเดียวแต่อย่างไรข้อสังเกตอย่างหนึ่งขอฝากไปถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเลยในส่วนของอาจารย์นิพนธ์เองก็มองเลยว่ากรมชลประทานได้รับงบประมาณแต่ละครั้ง 7หมื่นล้านบาท 

แต่พอไปดูไส้ในแล้วปรากฏว่ากรมชลประทานเข้าไปเน้นในเรื่องของเกี่ยวกับสิ่งก่อสร้างเสียมากกว่าและมีการก่อสร้างสิ่งต่างๆเยอะแยะมากมายโดยเขามองว่ามันเกินความจำเป็นบอกเลยว่ากรมชลประทานควรจะให้ความสำคัญกับแผนงานในการวิเคราะห์ในการสร้างสถาบันการจัดการน้ำไม่ใช่สิ่งก่อสร้าง

แต่ที่สำคัญควรจะสร้างรูปแบบการจัดการจากล่างขึ้นบนอย่างนี้ส่วนร่วมและรัฐจำเป็นจะต้องมีการกระจายอำนาจในการจัดการน้ำอย่างแท้จริงด้วยและต้องมีการซ่อมแซมอ่างขนาดเล็กขนาดกลางจะสร้างอะไรก็ได้แต่ต้องให้เกิดประโยชน์และเป็นรูปประธรรมในการแก้ปัญหาเรื่องน้ำอีกด้วย

 

สนับสนุนโดย.  สมัคร gclub ไม่มีขั้นต่ำ